ทักษะโลกอนาคต
สรุป
ปัญญาประดิฐ (AI) ปัจจุบันปัญญาประดิฐมีผลกับชีวิตเรามากขึ้นทุกที เราจึงต้องมีการเตรียมพร้อมกับการใช้ทักษะแห่งอนาคตหรือเรียกว่าทักษะแห่งศตววตที่21 ปัจจุบันมีโปรแกรมที่มีความสามารถมากขึ้นตัวอย่างเช่น ปี 2016 Alpha Go โปรแกรมชนะแชมป์โลกหมากล้อม ปัจจุบันมีโปรแกรมในปี 2017 Alpha Go Zero ชนะ Alpha Go ได้ขาดลอย และความรู้เดิมๆจากตำราที่เราศึกษาดาวเคราะห์มีจำนวน 9 ดวง ปัจจุบันความรู้เดิมๆนั้นไม่สามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้จริง เดี่ยวนี้ดาวเคราะห์ไม่ได้มีเพียง 9 ดวง จากที่เคยศึกษากันมา ดาวเคราะห์มีเป็นร้อยเป็นพันนับล้านดวง ดาวพลูโตที่เคยศึกษาว่าเป็นส่วนหนึ่งของดาวเคราะห์ ปัจจุบันเป็นเพียงดาวเคราะห์แคะเท่านั้น จึงทำให้ความรู้เดิมเกิดการล้าสมัย สำหรับงานที่ยังไม่มีโดยต้องใช้เทคโนโลยีที่ยังไม่เกิดเพื่อแก้ปัญหาที่ยังไม่รู้ว่าคืออะไร ในโลกอนาคตจึงทำให้เด็กยุคต่อไปต้องเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อให้การเรียนรู้ไม่สิ้นสุด จึงมีกระบวนการใน การเรียนรู้ประกอบด้วย 1.จิตนาการ 2.แรงดลใจ 3.ความเข้าใจลุ่มลึก 4.ญานทัศน์ การเรียนยุคต่อไปจึงจำเป็นต้องเป็นมากกว่าการท่องจำ หากใช้ทักษะแห่งโลกอนาคต ต้องมี 3 องค์ประกอบASK ได้แก่ 1.ทัศนคติ+อุปนิสัย 2.ทักษะ 3.ความรู้ ยังต้องสามารถเพิ่มทักษะ ความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่รู้ สื่อสารเก่ง อดทน คิดเชิงวิพากษ์ เรียนรู้จากหลายแหล่ง การเรียนการสอนต้องมีบทบาทมากขึ้น โดย การฟัง การเล่น การทำ เด็กยุคต่อไปต้องเรียนรู้ต่อไปมากขึ้น โลกใบใหม่เปลี่ยนไปไม่เหมือนเดิมต้องเตรียมทำงานที่ยังไม่มีใช้เทคโนโลยีที่ยังไม่เกิดแก้ปัญหาที่ยังไม่รู้สามารถสร้างทักษะแห่งโลกอนาคต เรียนรู้จากการทำเรียนรู้ต่อเนื่องตลอดชีวิต
1.จิตนาการเป็นความสามารถในการสร้างภาพในสมอง ซึ่งภาพเหล่านี้ไม่ได้รับรู้ผ่านการมองเห็น การได้ยิน หรือผ่านวิธีการรับรู้อื่น ๆ จินตนาการถือได้ว่าเป็นตัวช่วยสำคัญในการนำความรู้ไปใช้งานจริงและแก้ไข ปัญหาต่าง ๆ และยังเป็นรากฐานในการรวมประสบการณ์และกระบวนการเรียนรู้เข้าด้วยกัน
2.แรงดลใจ คือสะท้อนความคิดได้มากมาย คิดถึงตนเองตอนเริ่มหัดถ่ายภาพใหม่ ๆ ถือกล้องติดตัวตลอดแต่ ไม่รู้จะถ่ายอะไร แต่คิดเองไม่เป็น. เราจะถ่ายอะไรดี แล้วที่เราถ่ายมามันคืออะไร... ในหัวมีแต่มุม มองของภาพมืออาชีพดัง ๆ มากมายที่คอยจะดึงให้ทำตามทุกรูปแบบ. เราเห็นแต่ภาพสวย ของเขา แต่เราไม่เห็น แรงดลใจของเขาในภาพเหล่านั้น ก่อนออกไปถ่ายภาพ เดินทางไปถ่าย ภาพ
3.ความเข้าใจลุ่มลึก ผู้มีวิธีการเรียนรู้แบบลุ่มลึกจะเป็นบุคคลที่มุ่งตรวจสอบข้อเท็จจริงและ แนวคิดใหม่ๆ อย่างพินิจ. พิเคราะห์ ทางการเรียน นอกจากนี้ งานวิจัยยังพบว่า วิธีการเรียนรู้ แบบลุ่มลึก มีความสัมพันธ์กับตัวแปรจิตลักษณะต่างๆภายในตัวผู้เรียนเรียนรู้ระดับสูงกว่า การให้นักศึกษาเกิดเพียงความรู้เข้าใจ และการจา คือต้องเน้นการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์และ.
4.ญานทัศน์ วิถีแห่งญาณทัศน์. จิตสำนึกขั้นสูงไปกว่าเพื่อตนเองและเพื่ออุดมการณ์ หรืออุดมคติก็คือ จิตสำนึกทางการเมือง การเมืองในที่นี้ หมายถึง การจัดการบ้านเมืองเพื่อให้ส่วนรวมอยู่เป็น ปกติสุข เป็นสังคมพึงหวังอย่างอุดมการณ์หรืออุดมคตินั่นเองหากการเมือง ต้องหมายถึงระบบ และกระบวนการจัดการบ้านเมืองให้อยู่ดีมีสุขอย่างมีเหตุผลและเป็นธรรม
ในการเรียนรู้ในยุคต่อไปจึงจำเป็นต้องเป็นมากกว่าการเรียนแบบท่องจำ ทักษะแห่งโลกอนาคต ต้องมี 3 องค์ประกอบASK ได้แก่
1.ทัศนคติ+อุปนิสัย นิสัยและทัศนคติของคนที่ประสบความสำเร็จ. หลาย ๆ คนอาจจะสงสัยกันว่า คนที่ประสบความ สำเร็จในการดำเนินชีวิต และมีความก้าวหน้าในหน้าที่การงานนั้น มีนิสัยและทัศนคติอย่างไรที่ จะนำพาไปสู่ความสำเร็จได้. คนที่ประสบความสำเร็จส่วนใหญ่จะมีนิสัยและทัศนคติดังนี้. 1.มี ความเชื่อมั่นในตัวเอง. 2.มีเหตุผลในการคิด และรีบทำความคิดนั้นๆ
2.ทักษะ
การใช้ทักษะมีความสำคัญและจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ซึ่งสามารถแบ่งทักษะที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต ออกเป็น 10 ประการ ดังนี้
ความรู้ (อังกฤษ: Knowledge) คือความเข้าใจในเรื่องบางเรื่อง หรือสิ่งบางสิ่ง ซึ่งอาจจะรวม ไปถึงความสามารถในการนำสิ่งนั้นไปใช้เพื่อเป้าหมายบางประการ ความสามารถในการรู้บาง อย่าง นี้เป็นสิ่งสนใจหลักของวิชาปรัชญา (ที่หลายครั้งก็เป็นเรื่องที่มีการโต้เถียงอย่างมาก) และมีสาขาที่ศึกษาด้านนี้โดยเฉพาะเรียกว่าญาณวิทยา
การใช้ทักษะมีความสำคัญและจำเป็นต่อการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ซึ่งสามารถแบ่งทักษะที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินชีวิต ออกเป็น 10 ประการ ดังนี้
- ทักษะการตัดสินใจ (Decision making) เป็นความสามารถในการตัดสินใจเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ ในชีวิตได้อย่างมีระบบ
- ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็น ความสามารถในการจัดการกับปัญหาที่เกิดขึ้นในชีวิตได้อย่างมีระบบ ไม่เกิดความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลุกลามเป็นปัญหาใหญ่โตเกินแก้ไข
- ทักษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) เป็น ความสามารถในการคิดที่จะเป็นส่วนช่วยตัดสินใจและแก้ไขปัญหาโดยการคิดสร้าง สรรค์ เพื่อค้นหาทางเลือกต่าง ๆ
- ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณ (Critical thinking) เป็นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ และประเมินปัญหา หรือสถานการณ์ที่อยู่รอบตัวเราที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
- ทักษะการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ (Effective communication) เป็น ความสามารถในการใช้คำพูดและท่าทางเพื่อแสดงออกถึงความรู้สึกนึกคิดของตนเอง ได้อย่างเหมาะสมกับวัฒนธรรม และสถานการณ์ต่างๆ
- ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เป็นความสามารถในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีระหว่างกันและกัน และสามารถรักษาสัมพันธภาพไว้ได้ยืนยาว
- ทักษะการตระหนักรู้ในตน (Self-awareness) เป็น ความสามารถในการค้นหารู้จักและเข้าใจตนเอง
- ทักษะการเข้าใจผู้อื่น (Empathy) เป็น ความสามารถในการเข้าใจความเหมือนหรือความแตกต่างระหว่างบุคคล ในด้านความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ
- ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with emotion) เป็น ความสามารถในการรับรู้อารมณ์ของตนเองและผู้อื่น
- ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เป็น ความสามารถในการรับรู้ถึงสาเหตุของความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพื่อให้เกินการเบี่ยงเบนพฤติกรรมไปในทางที่ถูกต้องเหมาะสมและไม่เกิดปัญหา ด้านสุขภาพ
ซึ่งเด็กไทยต้องฝึกฝนในการเรียนรูและเพิ่มทักษะความคิดและการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ ให้เกอดการเรียนรู้ ที่ทันสมัยให้มากขึ้น การเข้ากับผู้อื่นได้ดี สื่อสารกับการทำงานได้ดี เรียนรู้จากสิ่งต่างๆ การเรียนการสอนต้องมีบทบาทมากขึ้น โดย การฟัง การทำ การเล่น และเด็กในยุคต่อไปต้องเรียนรู้ต่อไปมากขึ้นกว่าเดิมโดยโลกใบใหม่เปลี่ยนไปไม่เหมือนเดิมจึงต้องเตรียมการทำงานที่ยังไม่มีใช้เทคโนโลยีที่ยังไม่แก้ปัญหาที่ยังไม่รู้จะสามารถสร้างทักษะแห่งโลกอนาคตได้หรือไม่จึงต้องเรียนรู้จากการทำการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตและการเรียนรู้จะต้องเรียนรู้ตลอกเวลาด้วย
ความคิดเห็น
แสดงความคิดเห็น